บล็อกเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้รายวิชา การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study:IS)
วันจันทร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555
วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
โครงการIS
แบบฟอร์มโครงการ IS
ใบงานที่ ……..
เรื่อง “โครงการการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง”
Independent Study
|
ชื่อกลุ่ม……ดึกดำบรรพ์ (Dukdumbaan)………….…………. ชั้น…ม.4/6……
สมาชิก........1) กนกวรรณ.................เหรียญทอง...........เลขที่.....20.........................................
....................2)กัลยรัตน์.................แก้วแช่ม.............เลขที่.....21..................
......................3)ณัฐณิชา...............วงศ์สิทธิการ.........เลขที่.......24.............................................
1..ขั้นวางแผนการจัดทำโครงการ
เรื่อง ……It's Myschool ……
ผู้ร่วมโครงการ (บุคคลอื่นๆที่ไม่ใช่สมาชิกกลุ่ม)
เรื่อง ……It's Myschool ……
ผู้ร่วมโครงการ (บุคคลอื่นๆที่ไม่ใช่สมาชิกกลุ่ม)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…….................................................
ที่ปรึกษาโครงการ ……ครูอัจฉรา สุขขีมนต์ และ......................................……………………….……...............….
ที่ปรึกษาโครงการ ……ครูอัจฉรา สุขขีมนต์ และ......................................……………………….……...............….
หลักการและเหตุผล (ทำไมจึงสนใจทำเรื่องนี้)
ต้องการให้นักเรียนม.1และม.4 ที่เข้ามาใหม่ให้ได้ทราบถึงอาจารย์ ความหมาย
ความเป็นมาและตราโรงเรียน
วัตถุประสงค์โครงการ (ทำเพื่ออะไร)
1)เพื่อต้องการทราบประวัติความเป็นมาของโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์
2)เพื่อที่จะได้เผยแพร่ประวัติของโรงเรียนแก่บุคคลภายนอกที่สนใจ
ต้องการให้นักเรียนม.1และม.4 ที่เข้ามาใหม่ให้ได้ทราบถึงอาจารย์ ความหมาย
ความเป็นมาและตราโรงเรียน
วัตถุประสงค์โครงการ (ทำเพื่ออะไร)
1)เพื่อต้องการทราบประวัติความเป็นมาของโรงเรียนตาคลีประชาสรรค์
2)เพื่อที่จะได้เผยแพร่ประวัติของโรงเรียนแก่บุคคลภายนอกที่สนใจ
ประเด็นปัญหา (คำถามที่ต้องการรู้) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….................................
………………………………………………………………………………………………………………..............
………………………………………………………………………………………………………….……..............
………………………………………………………………………………………………………………..............
………………………………………………………………………………………………………….……..............
เป้าหมาย / สถานที่ดำเนินโครงการ (ทำที่ไหน) ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…...................................
ระยะเวลา (ทำเมื่อใด)
.………………………………………………………………………………………….………................................
งบประมาณ……………………………………………………………………………………………………….....
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (นำไปใช้ประโยชน์อย่างไร)...............................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................
แผนการปฏิบัติงาน/ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ( ทำอย่างไร)
1.กำหนดหัวข้อที่ต้องการศึกษา
2.ค้นคว้าข้อมูล
3.เรียบเรียงข้อมูล และตรวจสอบความถูกต้อง
4.จัดทำลงใน Power Pointและหนังสือเล่มเล็ก
5.นำเสนออาจารย์
6.นำไปเผยแพร่ต่อบุคคลภายนอก
การประเมินผล
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
2.ขั้นลงมือปฏิบัติ
บันทึกผลการปฏิบัติ (สิ่งที่ได้ค้นพบ)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..................................
เอกสารอ้างอิง
1.http://www.takhli.ac.th
วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555
ภัยพิบัติ
ภัยธรรมชาติ นั้นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ หรือมนุษย์ได้ทำให้มันเกิดขึ้นมา ภัยธรรมชาติมีหลายรูปแบบแตกต่างกันไปบางอย่างร้ายแรงน้อย บางอย่างร้ายแรงมากซึ่งอาจทำให้เกิดผลเสียต่อชีวิตและทรัพย์สิน เช่น การเกิดอุทกภัยหรือน้ำท่วม การเกิดพายุ การเกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น ซึ่งภัยธรรมชาติต่างๆไม่ว่าจะร้ายแรงมากหรือน้อยก็เกิดขึ้นได้ทุกเวลาโดยที่มนุษย์ไม่ได้ตั้งตัว แบ่งเป็น 8 ประเภท
วาตภัย | อุทกภัย | ทุกขภิกขภัย | พายุฝนฟ้าคะนอง | คลื่นพายุซัดฝั่ง | แผ่นดินไหว | แผ่นดินถล่ม | ไฟป่า
เดือน | ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นในภาคเหนือ |
กุมภาพันธ์ | ไฟป่า |
มีนาคม | พายุฤดูร้อน , ไฟป่า , ฝนแล้ง |
เมษายน | พายุฤดูร้อน , ไฟป่า , ฝนแล้ง |
พฤษภาคม | พายุฤดูร้อน , อุทกภัย |
มิถุนายน | อุทกภัย , ฝนทิ้งช่วง |
กรกฎาคม | ฝนทิ้งช่วง , พายุฝนฟ้าคะนอง ,พายุหมุนเขตร้อน , อุทกภัย |
สิงหาคม | พายุหมุนเขตร้อน , อุทกภัย , พายุฝนฟ้าคะนอง |
กันยายน | พายุหมุนเขตร้อน , อุทกภัย , พายุฝนฟ้าคะนอง |
วาตภัย ภัยธรรมชาติซึ่งเกิดจาก พายุลมแรง แบ่งได้ 2 ชนิด 1.1 วาตภัยจากพายุฤดูร้อน จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อน เกิดจากกระแสอากาศร้อนยกขึ้นเบื้องบนอย่างรุนแรง และรวดเร็ว เกิดพายุฝนฟ้าคะนองและอาจมีลูกเห็บทำความเสียหาย ได้ในบริเวณเล็กๆ ช่วงเวลาสั้นๆ ความเร็วลมประมาณ 50 กม./ชม. ทำให้สิ่งก่อสร้าง บ้านเรือน พืชผลทางการเกษตรเสียหาย ฝนตกหนัก ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า เป็นอันตรายแก่ชีวิตมนุษย์และสัตว์ได้ สภาวะอากาศ ก่อน/ขณะ/หลัง ของพายุฤดูร้อน (ช่วง เดือนมีนาคม-พฤษภาคม) ก่อนเกิดวาตภัย อากาศร้อนอบอ้าว ติดต่อกันหลายวัน ลมสงบ แม้ใบไม้ก็ไม่สั่นไหว ความชื้นในอากาศสูง จนรู้สึกเหนียวตามร่างกาย ท้องฟ้ามัว ทัศนวิสัยการมองเห็นระยะไกลไม่ชัดเจน เมฆมากขึ้น ท้องฟ้ามืดครึ้ม อากาศร้อนอบอ้าว ขณะเกิดวาตภัย พายุลมแรง 15-20 นาที ความเร็วมากกว่า 50 กม./ช.ม เมฆทวีขึ้นอย่างรวดเร็ว ลมกระโชกแรงเป็นครั้งคราว มีฝนตกหนัก บางครั้งมีลูกเห็บ ฟ้าคะนอง ฟ้าแลบ ถ้านับในใจ 1-2-3 แล้ว ได้ยินเสียงฟ้าร้อง และพายุจะห่างไปประมาณ 1 กม. ถ้าเห็นฟ้าแลบและฟ้าร้องพร้อมกัน พายุจะอยู่ใกล้มาก สภาวะนี้จะอยู่ประมาณ 1 ชม. หลังเกิดวาตภัย พายุสลายไปแล้วอากาศจะเย็นลง รู้สึกสดชื่นขึ้น ท้องฟ้าแจ่มใส ทัศนวิสัยชัดเจน ที่มา : http://www.cmmet.tmd.go.th/met/natural_danger.php |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)